ประวัติผู้ประเมิน
ข้อตกลง PA และรายงานผลการปฏิบัติงาน
ผลงานประเมิน PA
นางสาวสินีนาฏ วชิรธานินทร์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ประวัติส่วนตัวผู้รับประเมิน
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
รายวิชา สังคมศึกษา ม.1 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา สังคมศึกษา ม.3 จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.4 จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุมเกมส์ฝึกสมาธิ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ (critical thinking) รายวิชาพระพุทธศาสนา ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ใช้กระบวนการวิธีสอนแบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่ม
สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
จากการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาพระพุทธศาสนา พุทธศาสนสุภาษิต เพื่อให้เห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติตนและไม่ตระหนักถึงคุณค่าของการเป็นชาวพุทธที่ดีได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
จากการศึกษาพบว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีการปฏิบัติตนตามหลักพุทธศาสนสุภาษิตได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ตามสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวัน
ข้าพเจ้าจึงมีความสนใจในการแก้ผลสัมฤทธิ์นักเรียนรายวิชาพระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส31103 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2567
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: ลักษณะงาน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.1 สร้างและพัฒนาหลักสูตร :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.5 การวัดและประเมินผล :::
1) แบบสังเกตพฤติกรรม กระบวนการและทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณของผู้เรียน
2) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.6 ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ :::
1) ทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ
2) กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ใช้กระบวนการวิธีสอน แบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่ม
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน :::
1) เร้าความสนใจด้วย สื่อการสอน ที่นำนวัตกรรม เทคโนโลยี ที่ทันสมัย เข้ามาใช้ในการจัดการชั้นเรียน
2) ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสนำเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ โดยผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นแก่นความรู้ได้อย่างแท้จริง
3) เชื่อมโยงพุทธศาสนสุภาษิตกับชีวิตจริงในการดำรงชีวิตของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้แบบ Active Learning ใช้กระบวนการวิธีสอนแบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่มที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง โดยผู้เรียนช่วยกันนำเสนอด้วยการประยุกต์ใช้พุทธศาสนสุภาษิตาทางพระพุทธศาสนา
4) ใช้สื่อการเรียนการสอน คือ เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพุทธศาสนสุภาษิต
5) ใช้รูปแบบการสอนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ใช้กระบวนการวิธีสอนแบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่ม
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะ ที่ดีของผู้เรียน :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: ลักษณะงาน :::
ผู้เรียน และรายวิชาที่ครูสอนให้ผู้เรียนและผู้ปกครองสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ รวมถึงการแก้ไขปัญหาผู้เรียนให้มีความพร้อมและมีศักยภาพเพียงพอในการพัฒนาได้ เช่น การเยี่ยมบ้านนักเรียน คัดกรองนักเรียนยากจน การวิเคราะห์ ผู้เรียนรายบุคคล การประเมิน SDQ ทะเบียนแสดงผลการเรียน ระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนโดยโปรแกรม My School เพื่อใช้สนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา :::
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน :::
- มีการวิเคราะห์ผู้เรียน โดยใช้ผลการเรียนจากภาคเรียนที่ 1/2566 ในรายวิชาพระพุทธศาสนา
- หลังพบผู้เรียนที่ขาดทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จึงได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ใช้กระบวนการวิธีสอนแบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่ม ในรายวิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (อริยสัจ 4) เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณที่สูงขึ้นตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา :::
- งานการเงินกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
- หัวหน้างานตรวจสอบการลงเวลามาปฏิบัติราชการ
งานบุคลากร กลุ่มบริหารงานบุคคล
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: ลักษณะงาน :::
-
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
::: 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ส่วนที่ 2
ประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
::: ประเด็นท้าทาย :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
3.1 เชิงปริมาณ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 10 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 373 คน ได้รับการแก้ปัญหาการด้านทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ (critical thinking) ผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ใช้วิธีสอนแบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่มในรายวิชาพระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส 31103 ดังนี้
1) แบบประเมินการนำเสนอผลงาน เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด
2) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด
3) แบบประเมินคุณลักษณะ เรื่อง พุทธศาสนสุภาษิต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด
4) ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริม และปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
3.2 เชิงคุณภาพ
ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 10 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 373 คน มีทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ (critical thinking) สูงขึ้นเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ และผู้เรียนสามารถปรับประยุกต์ใช้พุทธศาสน-สุภาษิต ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ นอกจากผู้เรียนยังมีการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ตามกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ใช้วิธีสอนแบบบทบาทสมมุติและเทคนิคกระบวนการกลุ่ม และผู้เรียนได้รับการจัดการเรียนจากครู้ผู้สอนที่นำองค์ความรู้ที่ได้พัฒนาตนเอง และการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ พัฒนานักเรียนให้เต็มตามศักยภาพ เหมาะสมตามวัยและลักษณะของผู้เรียน